วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555

Course Structure of Diploma Animal Health Science

Course  Structure
Diploma of Animal Health Science ( Veterinary Nurse ) at Ratchaburi College of Agriculture and Technology : The 2012 Vocational Curriculum
For the fulfillment of the course, the graduates have to complete at least 86 credits, from the three groups of subjects below:
1. Basic subjects               (at least )                                                                                              21           credits
1.1  General basic subjects                                                                                                    13           credits
1.2  Basic vocational subjects (at least)                                                                                    8           credits
                2. Vocational subjects                       (at least)                                                                               59           credits
                       2.1 Basic Vocational subjects                                                                                                 15           credits
                       2.2 Major vocational subjects                                                                                                  25           credits
                       2.3 Minor vocational subjects (at least)                                                                                    15           credits
                       2.4 Projects                                                                                                                             4           credits
                 3. Free elective subjects                      (at least)                                                                              6           credits
                4. Field work                                      (at least)                1 semester
                5. Activities                                         (at least)                120 hours
                                                                                                                Total( not less than)          86           credits
This course structure is for the graduates from vocational certificate in Agriculture or equivalent. In case of the graduates from grade 12 ( M6 )  they must study more subjects,as follows:
1.             Principle of plant Science                                       2              credits
2.             Principle of Animal Husbandry                                2              credits
3.             Introdudtion to Farm Mechanics                               2              credits
               

วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2555

REMEMBRANCE FROM STEVE JOBS' S DEATH

" Remembering  that  I'II be  dead  soon  is  the  most  important  tool  I've  encountered  to  help  me  make  the  big  choice  in  life.  Because  almost  everything, all  external  expectation, all  pride, all  fear  of  embarassment  or  failure - these  things  just  fall  away  in  the  face  of  death, leaving  only  what  is  truly  important.  Rembering  that  you  are  going  to  die  is  the  best  way  I  know  to  avoid  the  trap  of  thinking  you  have  something  to  lose.  You  are  already  naked.  There  is  no  reason  not  to  follow  your  heart. "


                                     STEVE  JOBS
               THE  INNOVATOR  OF  THE  WORLD

วันพุธที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2555

RATCHABURI VETNURSE CURRICULUM

         THE  VOCATIONAL  DIPLOMA  OF  RATCHABURI  VETNURSE  CURRICULUM

RATIONALE

1. This  curriculum  aims  to  produce  and  develop  specialized  technicians  based  on  the  needs  of  both  local  and  national  labour  market.
2. This  curriculum  provides  a  good  chance  for  students  to  choose  which  subjects  they  want  to  study  based  on  their apitudes, potential  and  interests, and  to  be  able  to  assess  and  transfer ( for  credit ) the  knowledge  and  experince  gained  from  academic  resorces  and  work  places.
3. This  crriculum  provides  and  opportunity  for  colleges,  to  conducts  various  ways  of  teaching  and  learning  according  to  students  and  local  needs.
4. This  curriculum  provides  and  opportunity  for  colleges, communities  and  local  organization,  both  government  and  private  sector,  to  take  part  in  developing  curriculum  and  managing  education  to  suit  local  cmmunities  needs  and  conditions

การควบคุมเห็บโคเชิงบูรณาการตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

                       การควบคุมเห็บโคเชิงบูรณาการภายใต้แนวคิด   เศรษฐกิจพอเพียง

คำนำ

                ปัจจุบันคนไทยเริ่มมีความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นรู้จักนำแนวคิดไปปรับประยุกต์ใช้  ในกิจกรรมต่างๆทั้งด้านการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพต่างๆ   การควบคุมเห็บโคเชิงบูรณาการภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  จัดเป็นนวัตกรรมใหม่ที่เกษตรกรสามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเองอย่างง่าย  ไม่สลับซับซ้อนแต่อย่างใด  ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ให้ใคร  เป็นภูมิปัญญาไทยที่เกิดจากการสังเกต  ค้นคว้า  วิจัยต่อยอดจากข้อมูลทางวิชาการและภูมิปัญญาชาวบ้าน  ตลอดจนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรในพื้นที่  ทำให้เกิดแนวคิดเชิงบูรณาการในการจัดการเห็บโคไปตามสภาพปัญหา ณ ขณะนั้น  จะไม่ยึดติดกับวิธีการใดวิธีการหนึ่งโดยเฉพาะ  ทุกวิธีซึ่งให้ข้อเสนอแนะในหนังสือเล่มนี้สามารถลดปริมาณเห็บได้แน่นอน  และไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากจนเกินไป  เกษตรกรทุกคนสามารถทำได้ด้วยตนเอง  เป็นวิธีประหยัด  เกิดประโยชน์  มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคน  ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญในการแก้ไขปัญหาทางอาชีพเกษตรกรรมได้อย่างยั่งยืน
      การควบคุมเห็บโคเชิงบูรณาการ  ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  เป็นการจัดการอย่างหนึ่งที่ต้องรู้จักเลือกใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง  หรือหลากหลายวิธีการผสมผสานกัน  ทั้งนี้ขึ้นกับความเหมาะสมตามสถานการณ์ในขณะนั้น  ไม่มีสูตรสำเร็จอย่างใดอย่างหนึ่ง  หากใช้การจัดการแปลงหญ้า  หรือเพียงแค่ใช้วิธีกลแล้วสามารถควบคุมเห็บได้  ก็ไม่จำเป็นต้องใช้น้ำหมักจากสมุนไพร  หรืนำหมักเศษผลไม้  น้ำหมักเหล่านี้เป็นผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติที่คิดค้นขึ้นมา  เพื่อทดแทนสารเคมีได้บ้างบางส่วนเท่านั้นแต่หาใช่คำตอบในการควบคุมเห็บโคไม่  โดยทั้งหมดทั้งมวลต้องใช้ทุกอย่าง  ทุกวิธีด้วยสติปัญญา  ด้วยเหตุผล  ยึดหลักประหยัดถูกต้องตามหลักวิชาการ  มองผลของการปฏิบัติเข้าทำนอง      “ คุ้มค่า ”  มากกว่า  “ คุ้มทุน 
สรุป   การควบคุมเห็บโคเชิงบูรณาการภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมีประเด็นและวิธีการต่างๆดังนี้
1. การตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากเห็บโค
2. การเข้าใจถึงวงจรชีวิตและการแพร่พันธุ์ของเห็บโค
3. การใช้วิธีกลกำจัดเห็บโค เช่น ให้นกหรือไก่พื้นเมืองจิกกิน  การเก็บกำจัดเห็บจากตัวโค
4. การใช้สมุนไพรพื้นบ้านนำมาสกัดด้วยแอลกอฮอล์  เช่น  เมล็ดน้อยหน่า  ตะไคร้หอม เป็นต้น
5. การนำเศษผลไม้มาหมักเพื่อให้เกิดกรดอินทรีย์นำไปเช็ดผิวหนังโคที่มีเห็บ
6. การคำนึงถึงการปล่อยโคลงแทะเล็มหญ้าในแปลงที่มีตัวอ่อนเห็บระบาด  ควรหลีกเลี่ยงด้วยการตัดหญ้ามาให้โคกิน
7. ไม่ควรเลี้ยงโคมากเกินความสามารถในการจัดการ 
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับประเทศของเรานั้นพระองค์พระราชทานแนวคิดที่น่าสนใจดังนี้     “..........การใช้เทคโนโลยีอันทันสมัยในงานต่างๆนั้น  ว่าโดยหลักการควรจะให้ผลมากในเรื่องประสิทธิภาพ  การประหยัด  และการทุ่นแรง  แต่อย่างไรก็ตาม  คงยังต้องคำนึงถึงสิ่งอื่นอันเป็นพื้นฐาน   และส่วนประกอบของการงานที่ทำด้วย  อย่างในประเทศของเรา  ประชาชนทำมาหาเลี้ยงตัวด้วยการกสิกรรม  และการลงแรงทำงานเป็นพื้น  การใช้เทคโนโลยีอย่างใหญ่โตเต็มรูปหรือเต็มขนาดในงาน  อาชีพหลักของประเทศย่อมมีปัญหา  เช่น  อาจทำให้ต้องลงทุนมากมายสิ้นเปลืองเกินกว่าเหตุ  หรืออาจก่อให้เกิดการว่างงานอย่างรุนแรงขึ้น เป็นต้น  ผลที่เกิดจะพลาดเป้าหมายไป  ห่างไกลและกลับกลายเป็นผลเสีย  ดังนั้นจึงต้องมีความระมัดระวังในการใช้เทคโนโลยีที่ปฏิบัติงาน  คือควรพยายามใช้ให้พอเหมาะพอดีแก่สภาวะของบ้านเมือง  และการทำกินของราษฎร  เพื่อให้เกิดประสิทธิผลด้วย  เกิดความประหยัดอย่างแท้จริงด้วย..........” 

                                                              บทความโดย น.สพ.พิเชษฐ  ประจงทัศน์